วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2559

บทอาขยาน

 บทอาขยาน
     ช่วงชั้นที่ 4 (ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4-6)
       กระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายกำหนดให้มีการท่องอาขยาน อย่างจริงจังในสถานศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2542 เป็นต้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ของการท่องอาขยาน เพื่อให้นักเรียนตระหนักในคุณค่าของภาษาไทย และให้ซาบซึ้งในความไพเราะของบทร้อยกรอง เป็นพื้นฐานในการแต่งคำประพันธ์ สื่อในการถ่ายทอดคุณธรรม คติธรรม และข้อคิดที่เป็นประโยชน์แก่เยาวชน ส่งเสริมให้มีจิตสำนึกทางวัฒนธรรมของคนในชาติ อ่านเพิ่มเติม



หัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่ม
     .ความเป็นมา

        หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิตเมื่อ พ..๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด  อ่านเพิ่มเติม


คำนมัสการคุณานุคุณ

คำนมัสการคุณานุคุณ
        คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง อ่านเพิ่มเติม


นิราศนรินทร์คำโคลง

นิราศนรินทร์คำโคลง
       ความเป็นมา
      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ

      พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบายว่า นิราศหมายถึง  อ่านเพิ่มเติม


อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
          อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกสารที่เกี่ยวข้องมี  อ่านเพิ่มเติม  


เวตาล (เรื่องที่10)

เวตาล (เรื่องที่10)
   ความเป็นมา
                นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
                  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน  ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวนภาษาของตนเองให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ได้ทรงแปลนิทานเวตาลจากฉบับ อ่านเพิ่มเติม



โวหารภาพพจน์

โวหารภาพพจน์
           โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน
ลักษณะของโวหารภาพพจน์ ได้แก่ อุปมา อุปลักษณ์ ปฏิพากย์ อติพจน์ บุคลาธิษฐาน สัญลักษณ์ นามนัย สัทพจน์ ซึ่งโวหารแต่ละชนิดจะมีลักษณะ อ่านเพิ่มเติม


ประเภทรสในวรรณคดี

ประเภทรสในวรรณคดี
       รสแห่งกาพย์กลอนไทยมี ๔ รส 
๑. เสาวรจนีย์ (บทชมโฉม) คือการเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่อง ซึ่งอาจเป็นตัวละครที่เป็นมนุษย์ อมนุษย์ หรือสัตว์ซึ่งการชมนี้อาจจะเป็นการชมความเก่งกล้าของกษัตริย์ ความงามของปราสาทราชวังหรือความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่น บทชมโฉมนางมัทมา โดยท้าวชัยเสนรำพันไว้ ในวรรคดีเรื่อง  อ่านเพิ่มเติม




ประเภทของวรรณคดี

ประเภทของวรรณคดี
        วรรณคดีที่อาจจำแนกตามเกณฑ์กับลักษณะต่างๆของวรรณคดี ดังต่อไปนี้
     ๑.จำแนกตามลักษณะของการเขียน
     ๒.จำแนกตามความมุ่งหมายสำคัญ
     ๓.จำแนกตามเนื้อหา
     ๔.จำแนกตามหลักฐานการ อ่านเพิมเติม  

ความสำคัญของวรรณคดี

ความสำคัญของวรรณคดี
        วรรณคดีเป็นสิ่งสร้างสรรค์อันล้ำค่าของมนุษย์ มนุษย์สร้างและสื่อสารเรื่องราวของชีวิต
วัฒนธรรมและอารมณ์ความรู้สึกที่เกี่ยวข้องหรือสะท้อนความเป็นมนุษย์ด้วยกลวิธีการใช้ถ้อยคําสํานวน
ภาษา ซึ่งมีความเหมือนหรือแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย
 พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ได้กล่าวถึงความสําคัญของ  อ่านเพิ่มเติม